วันพุธที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2559

มารยาทชาวพุทธ

มารยาทชาวพุทธ หมายถึง  กิริยาวาจาของผู้ที่นับถือพระพุทธศาสนาที่ถือว่าเรียบร้อยซึ่งพระพุทธศาสนามีหลักคำสอนเพื่อฝึกหัดกิริยามารยาทของชาวพุทธให้มีความงดงาม  และเป็นที่ประทับใจแก่ผู้พบเห็น  เช่นมารยาทเกี่ยวกับการปฏิบัติตนต่อพระสงฆ์ เป็นต้น

๑)  การเข้าพบพระสงฆ์
    ๑)  ข้อปฏิบัติก่อนเข้าพบพระสงฆ์
          เนื่องจากพระสงฆ์ดำเนินชีวิตตามหลักพระธรรมวินัยอาจมีข้อห้ามบางอย่างที่เราไม่ทราบ  ดังนั้น  ก่อนเข้าพบพระสงฆ์ควรติดต่อสอบถามข้อปฏิบัติ  และควรแจ้งความประสงฆ์ขออนุญาตเข้าพบท่านก่อนทุกครั้ง  เมื่อท่านอนุญาตจึงจะเข้าพบได้
    ๒)  ข้อปฏิบัติเมื่อถึงที่อยู่ของพระส  อ่านเพิ่มเติม

การเเสดงตนเป็นพุทธมามกะ

 พุทธมามกะ หมายถึง ผู้ประกาศตนเป็นชาวพุทธ นับถือพระรัตนตรัยเป็นที่พึง แล้วปฏิบัติตามหลักธรรมคำสอน ขององค์สัมมาสัมพุทธเจ้า
          การ
แสดงตนเป็นพุทธมามกะ มีขั้นตอนดังนี้
1. เตรียมสถานที่ประกอบพิธีกรรม แล้วแต่ความเหมาะสม เช่นนิมนต์พระสงฆ์มาที่หอประชุมโรงเรียน หรือเดินทางไปที่วัด ประกอบพิธี ในพระอุโบสถ หรือศาลาการเปรียญ โดยจัดโต๊ะหมู่บูชา และเครื่องบูชา จัดอาสนสงฆ์ให้ครบตามจำนวนที่อาราธนาพระสงฆ์ไว้
2. ผู้ปกครองนำเด็ก หรือครูนำนักเรียน ไปแ อ่านเพิ่มเติม

พระอานนท์

ประวัติ พระอานนท์เถระ เอตทัคคะในทางผู้เป็นพหูสูตร
พระอานนท์ เป็นพระราชโอรสของพระสุกโกทนะ ผู้เป็นพระกนิษฐาของพระเจ้าสุทโธทนะ พระมารดานามว่า พระนางกีสาโคตมี มีศักดิ์เป็นพระอนุชาของพระบรมศาสดา (พระราชโอรสของพระเจ้าอา) ออกบวชพร้อมกับเจ้าชายอนุรุทธะและอุบาลี (ศึกษาประวัติเบื้องต้นในประวัติของพระอนุรุทธเถระ) เมื่อท่านบวชแล้ว ได้ฟังโอวาทจากรพปุณณมันตานี ได้บรรลุเป็นพร อ่านเพิ่มเติม

การบริหารจิต

พระพุทธศาสนาเน้นเรื่องการฝึกจิตเป็นสำคัญ เพราะมนุษย์มีจิตเป็นตัวนำการ กระทำทุกอย่าง จะต้องมีการพิจารณา คิดนึกตรึกตรองเสียก่อน   การฝึกจิตหรือการบริหารจิต จึงเป็นการกระทำเพื่อให้จิตมีสภาพตั้งมั่น มีสติระลึกได้ มีสัมปชัญญะรู้สึกตัวทั่วพร้อมตลอดเวลา
              การบริหารจิต  หมายถึง  การฝึกฝนอบรมจิตให้เจริญและประณีตยิ่งขึ้น  มีความปลอดโปร่ง มีความหนักแน่นมั่นคง   โดยเริ่มจากการฝึกฝนจิตให้เกิดสติและฝึกสมาธิให้เกิดขึ้นในจิต
           ในการที่จ อ่านเพิ่มเติม

พระไตรปิฎก

พระไตรปิฏก แปลว่า ๓ คัมภีร์ เมื่อแยกเป็นคำๆ ว่า พระ + ไตร + ปิฏก คำว่า "พระ" เป็นคำแสดงความเคารพหรือยกย่อง คำว่า "ไตร" แปลว่า สาม คำว่า "ปิฏก" แปลได้ ๒ อย่าง คือ แปลว่า คัมภีร์ หรือแปลว่า กระจาด ตะกร้า
     ดังนั้น พระไตรปิฏก จึงหมายถึง สิ่งที่รวบรวมคำสั่งสอนของพระพุทธเจ้าไว้เป็นหมวดหมู่ไม่ไห้กระจัดกระจาย คล้ายกระจาดหรือตะกร้าอันเป็นภาชนะใส่ของนั้นเอง
     ปิฏก ๓ หรือพระไตรปิฏก แบ่งอ อ่านเพิ่มเติม

ทศพิธราชธรรม10

ทศพิธราชธรรม แต่โบราณมาได้มีข้อกำหนดต่างๆ ที่พระมหากษัตริยาธิราชเจ้าพึงประฏิบัติ ในพระราชจริยาวัตรจัดเป็นพระคุณสมบัติที่สำคัญยิ่งด้วย เรียกว่า ทศราชธรรม หรือคุณธรรม 10 ประการ
ธรรมะข้อ 1.ทาน
หมายถึง พระราชทานพัสดุสิ่งของ หรือปัจจัยที่จำเป็นในการดำรงค์ชีวิต แก่ผู้สมควรได้รับ ได้แก่ พระภิกษุสงฆ์ และราษฎรผู้ยา อ่านเพิ่มเติม

การตรัสรู้

 เหตุการณ์การตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า เป็นปรากฏการณ์ต่อเนื่องจากเหตุการณ์การผจญมารของพระองค์ การตรัสรู้ของพระพุทธเจ้า เป็นปรากฏการณ์ที่บังเกิดขึ้นแก่พระพุทธเจ้าพระองค์เดียวก่อนใครในโลก  จากนั้นพระองค์จึงได้นำคุณธรรมที่พระองค์ได้ตรัสรู้ไปสั่งสอนเวไนยสัตว์จนได้บรรลุตามมากมาย จนสามารถก่อตั้งเป็นพระพุทธศาสนาขึ้นมาดลอดจนถึงปัจจุบัน การตรัสรู้เป็นปรากฏการณ์ที่ทำให้เห็นถึงพุทธจริยาในการค้นพบสัจธร อ่านเพิ่มเติม